1. สู่พระพุทธรูป พระนาคปรก พระนาคปรก พระนาคปรก พระนาคปรก พระนาคปรก พระนาคปรก พระนาคปรก พระนาคปรก พระนาคปรก พระนาคปรก พระนาคปรก พระนาคปรก พระนาคปรก พระนาค
อื่นๆ. พระพุทธรูปและพระเครื่องในลักษณะการที่เรียกว่า ปางนาคปรก เป็นชื่อเรียกพระพุทธรูปลักษณะนั่งสมาธิ และมีพญานาคแผ่หัวเป็นพังพานขึ้นจากไหล่ไปปรกพระเศียรของพระพุทธรูป แต่เดิมทําเป็นรูปพญานาคเป็นมนุษย์ มีรูปงู ๗ หัว เป็นพังพานขึ้นจากไหล่ไปปรกพระเศียร ศีรษะ ในกิริยาที่พญานาคทําท่านมัสการพระพุทธเจ้า ต่อมาภายหลังทําพญานาคเป็นรูปงูขดตัวเป็นฐานตั้งพระพุทธรูปนั่งสมาธิบนตัวพญานาคและมีพังพานและหัวของพญานาค ๗ เศียร ปรกอยู่. พระพุทธจริยาที่เสด็จประทับนั่งเสวยวิมุตติสุขภายในวงขนดของพญานาคมุจลินท์นาคราชที่ขดแวดล้อมพระกายอยู่นี้ เป็นเหตุให้สร้างพระพุทธรูปปางนี้ขึ้นมา เรียกว่า ปางนาคปรก. เรื่องพระปางนาคปรกนี้ นิยมสร้างเป็นพระนั่งบนขนดตัวพญานาคเหมือนเอานาคเป็นบัลลังก์ดูสง่า องอาจเป็นพระเกียรติอํานาจของพระองค์อย่างหนึ่ง ได้ลักษณะเป็นอย่างพระเจ้าของพราหมณ์ ถ้าจะรักษาลักษณะของพระพุทธรูปตามประวัติ ก็จะเป็นไปอีกในลักษณะหนึ่งคือ พระพุทธรูปจะมีพญานาคพันรอบพระวรกายด้วยขนดตัวพญานาคถึง ๔-๕ ชิ้น จนบังพระวรกายมิดชิด เพื่อป้องกันฝนและลม จะเห็นได้ก็เพียงพระเศียร พระศอ และพระอังสาเป็นอย่างมาก ทั้งเบื้องบนก็มีหัวพญานาคแผ่พังพานปกคลุมอีกด้วย. คติความเชื่อเรื่อง พญานาคกับศาสนา ปรากฏทั้งในศาสนาพราหมณ์และพุทธศาสนา สําหรับศาสนาพราหมณ์ นาค มีความสําคัญหลายประการ ตัวอย่างเช่น เป็นบัลลังก์ขององค์พระวิษณุในไวกูณฑ์ ที่เรียกว่า วิษณุอนันตศายินปัทมะนาภะ หรือ นารายณ์บรรทมสินธุ์ หรือใน ครุฑปุราณะ เรื่องพญานาควาสุกรีที่พันรอบเขา มิลินทระในคราวกวนเกษียรสมุทรเพื่อทําน้ําอมฤต การเป็นเทพพาหนะของพระวรุณ หรือพระพิรุณ ซึ่งทําหน้าที่ให้ฝน การเป็นสัตว์สําคัญที่เฝ้ามหานทีสีทันดรล้อมรอบเขาพระสุเมรุ ตลอดจนการกล่าวถึงนาคในปุราณะต่างๆ. นอกจากเรื่องราวของ นาค ยังสัมพันธ์กับพงศาวดารเขมร ซึ่งกล่าวถึงนาคว่าเป็นต้นบรรพบุรุษของขอมโบราณ และมักมาปรากฏช่วยสร้างเมืองอยู่เสมอ จนเมื่อชาวขอมจะสร้างศาสนาสถานต่างๆ ก็มักจะจําลองรูปพญานาคไว้ บ้างก็ถือว่านาคเป็นตัวแทนของสะพานสายรุ้งที่เชื่อมระหว่างโลกมนุษย์กับสวรรค์ด้วย. ส่วนพุทธศาสนา เป็นที่ทราบกันว่ามีความนิยมสร้างพระพุทธรูปปางนาคปรก อันเกี่ยวเนื่องกับพญานาคที่ชื่อ มุจลินท์ ซึ่งมาแผ่พังพานปกป้องพระพุทธองค์ และกลายเป็นพระประจําวันเสาร์ นอกเหนือไปจากเรื่องพญานาคเลื่อมใสในพุทธศาสนาถึงขนาดปลอมตนมาขอบวชจนเรียกว่า บวชนาค มาจนถึงปัจจุบันนี้. นอกจากนี้ หากพิจารณาอาคารสถาปัตยกรรมจะพบเห็นเค้าเงื่อนที่พญานาคทําหน้าที่ปกป้องดูแลพระศาสนาอย่างเอาจริงเอาจัง เช่น การทําช่อฟ้า รวยระกา ใบระกา และหางหงส์ เป็นรูปพญานาค หรือการทําคันทวยเป็นรูปนาค เรียกกันว่า นาคทัณฑ์ ล้อมรอบอุโบสถ วิหารไว้. การสร้าง พระปางนาคปรก จากเขมรก่อนเป็นเบื้องแรก ตั้งแต่สมัยอยุธยาจึงเริ่มพบพระประเภทดังกล่าว และเมื่อราชสํานักพยายามรวบรวมพุทธประวัติ มีการสร้างพระปางต่างๆ ตามเรื่องราว พระปางนาคปรกก็ได้รับความนิยมมากขึ้น เนื่องจากแสดงออกถึงอิทธิฤทธิ์แห่งองค์พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ต่อเมื่อมีการจัดสรรให้เกิดพระปางประจําวัน เพื่อเข้าไปทดแทนการบูชาเทพนพเคราะห์ ซึ่งได้แก่ พระอาทิตย์ พระจันทร์ ไปจนถึงพระราหู พระเกตุทั้งเก้าดวง ซึ่งเป็นคติพราหมณ์ พระปางนาคปรก ก็ได้รับการจัดสรรให้เป็นปางประจําวันเสาร์ แทนดาวพระเสาร์แต่นั้นมา. ในวงการพระเครื่องพระบูชา จึงมีความนิยมสร้างพระพุทธรูป พระเครื่อง และพระพิมพ์ปางนาคปรก กันมากมาย เช่น พระนาคปรกวัดท้ายตลาด พระนาคปรกใบมะขาม สํานักต่างๆ ตลอดจนพระเครื่องที่นิยมสร้างประจําวันตั้งแต่รัตนโกสินทร์เป็นต้นมา ล้วนแล้วแต่มีการจัดสร้างเป็นพระปางนาคปรกประกอบด้วยทั้งสิ้น. พระพุทธรูปและพระเครื่องในลักษณะการที่เรียกว่า ปางนาคปรก เป็นชื่อเรียกพระพุทธรูปลักษณะนั่งสมาธิ และมีพญานาคแผ่หัวเป็นพังพานขึ้นจากไหล่ไปปรกพระเศียรของพระพุทธรูป แต่เดิมทําเป็นรูปพญานาคเป็นมนุษย์ มีรูปงู ๗ หัว เป็นพังพานขึ้นจากไหล่ไปปรกพระเศียร ศีรษะ ในกิริยาที่พญานาคทําท่านมัสการพระพุทธเจ้า ต่อมาภายหลังทําพญานาคเป็นรูปงูขดตัวเป็นฐานตั้งพระพุทธรูปนั่งสมาธิบนตัวพญานาคและมีพังพานและหัวของพญานาค ๗ เศียร ปรกอยู่. พระพุทธจริยาที่เสด็จประทับนั่งเสวยวิมุตติสุขภายในวงขนดของพญานาคมุจลินท์นาคราชที่ขดแวดล้อมพระกายอยู่นี้ เป็นเหตุให้สร้างพระพุทธรูปปางนี้ขึ้นมา เรียกว่า ปางนาคปรก. เรื่องพระปางนาคปรกนี้ นิยมสร้างเป็นพระนั่งบนขนดตัวพญานาคเหมือนเอานาคเป็นบัลลังก์ดูสง่า องอาจเป็นพระเกียรติอํานาจของพระองค์อย่างหนึ่ง ได้ลักษณะเป็นอย่างพระเจ้าของพราหมณ์ ถ้าจะรักษาลักษณะของพระพุทธรูปตามประวัติ ก็จะเป็นไปอีกในลักษณะหนึ่งคือ พระพุทธรูปจะมีพญานาคพันรอบพระวรกายด้วยขนดตัวพญานาคถึง ๔-๕ ชิ้น จนบังพระวรกายมิดชิด เพื่อป้องกันฝนและลม จะเห็นได้ก็เพียงพระเศียร พระศอ และพระอังสาเป็นอย่างมาก ทั้งเบื้องบนก็มีหัวพญานาคแผ่พังพานปกคลุมอีกด้วย. คติความเชื่อเรื่อง พญานาคกับศาสนา ปรากฏทั้งในศาสนาพราหมณ์และพุทธศาสนา สําหรับศาสนาพราหมณ์ นาค มีความสําคัญหลายประการ ตัวอย่างเช่น เป็นบัลลังก์ขององค์พระวิษณุในไวกูณฑ์ ที่เรียกว่า วิษณุอนันตศายินปัทมะนาภะ หรือ นารายณ์บรรทมสินธุ์ หรือใน ครุฑปุราณะ เรื่องพญานาควาสุกรีที่พันรอบเขา มิลินทระในคราวกวนเกษียรสมุทรเพื่อทําน้ําอมฤต การเป็นเทพพาหนะของพระวรุณ หรือพระพิรุณ ซึ่งทําหน้าที่ให้ฝน การเป็นสัตว์สําคัญที่เฝ้ามหานทีสีทันดรล้อมรอบเขาพระสุเมรุ ตลอดจนการกล่าวถึงนาคในปุราณะต่างๆ. นอกจากเรื่องราวของ นาค ยังสัมพันธ์กับพงศาวดารเขมร ซึ่งกล่าวถึงนาคว่าเป็นต้นบรรพบุรุษของขอมโบราณ และมักมาปรากฏช่วยสร้างเมืองอยู่เสมอ จนเมื่อชาวขอมจะสร้างศาสนาสถานต่างๆ ก็มักจะจําลองรูปพญานาคไว้ บ้างก็ถือว่านาคเป็นตัวแทนของสะพานสายรุ้งที่เชื่อมระหว่างโลกมนุษย์กับสวรรค์ด้วย. ส่วนพุทธศาสนา เป็นที่ทราบกันว่ามีความนิยมสร้างพระพุทธรูปปางนาคปรก อันเกี่ยวเนื่องกับพญานาคที่ชื่อ มุจลินท์ ซึ่งมาแผ่พังพานปกป้องพระพุทธองค์ และกลายเป็นพระประจําวันเสาร์ นอกเหนือไปจากเรื่องพญานาคเลื่อ