1. แผ่นทองพระพิฆเนศ ปาง 3 เศียร รหัส G-13 พระพิฆเณศปางตรีมุข พระพิฆเนศวรปางตรีมุขคณปติ องค์พระพิฆเนศวร์ปางสามเศียร ร่ํารวย
พระสมเด็จปรกโพธิ์ 9 ใบหลวงพ่อกวย. เศียร พระพิฆเนศ หลวง พ่อ พัฒ. กรอบพระปิดตาพิมพ์ตุ๊กตาใหญ่. พระพิฆเนศปางเสวยสุขสีม่วง. พระคงลําพูนแท้ 2หน้าAAA4. พระพิฆเนศ ปางตรีมุขคณปติ ปางแห่งการติดต่อสื่อสาร การค้าขาย การประสานงาน ปางแห่งเสน่ห์ การเจรจาการงานสําเร็จลุล่วง. พระพิฆเนศปางตรีมุข หรือ ปาง 3 เศียร เป็นพระพิฆเนศในกลุ่มปางเกี่ยวกับการติดต่อสื่อสาร และปางความสําเร็จในหน้าที่การงาน. ปางสามเศียร หมายถึง 3 โลก อันได้แก่ โลกมนุษย์ สวรรค์ และบาดาล. พระพิฆเนศปางสามเศียรนี้ เป็นการประทานพรให้ผู้บูชาได้รับความราบรื่นในการติดต่อสื่อสาร เนื่องจากพระพิฆเนศเป็นเทพเจ้าที่สามารถเสด็จไปยังทุกที่บนโลกมนุษย์ ทุกที่ใต้บาดาล และทุกที่บนสรวงสวรรค์ได้ ก็หมายถึงการได้รับความราบลื่นในการติดต่อประสานงานต่างๆ. ประทานพรให้ผู้บูชา ไปติดต่อพูดจากับใครก็มีเสน่ห์ มีแต่คนรักใคร่ มีคนนับหน้าถือตา ขอความร่วมมือกับใครก็ได้รับความสะดวก ผู้ใหญ่เอ็นดู เพื่อนรอบข้างมีน้ําใจ. ผู้ที่บูชาพระพิฆเนศองค์นี้ จะได้รับความรักใคร่จากผู้คนรอบข้าง มีมิตรภาพที่ดี คนที่นิสัยไม่ดีที่เข้ามาวุ่นวายก็จะถูกขจัดออกไป. ขนาดของแผ่นทอง กว้าง 2.3 นิ้ว x สูง 3.3 นิ้ว. หรือ ขนาดเทียบเท่าบัตรเอทีเอ็ม นามบัตร. ด้านหน้า เป็นแผ่นทอง. ด้านหลัง เป็นแผ่นพลาสติกกันน้ํา ผนึกติดกับแผ่นทองไว้เพื่อไม่ให้แผ่นทองยับเสียหาย. สามารถติดผนังไว้บูชา ในบ้าน ห้องพระ แท่นบูชา หิ้งพระ ร้านค้า หรือใส่ในรถยนต์ ไว้ที่โต๊ะทํางาน ใส่พานไว้ เอาเทปติดไว้ที่ผนัง ใส่กระเป๋าถือหรือจะใส่กระเป๋าสตางค์พกพาติดตัวบูชาก็ได้. ปลุกเสกแล้ว. วัตถุมงคลของเราทุกรายการ ได้ผ่านพิธีเบิกเนตรโดยพราหมณ์อินเดียในสมาคมฮินดูประจําประเทศไทย โดย อ. พิทักษ์ เป็นเจ้าภาพเชิญพราหมณ์อินเดียมาทําพิธีครบถ้วนทุกขั้นตอน. บูชาเพื่อเสริมดวง เสริมสิริมงคลให้กับตัวคุณ เพื่อให้คุณมีเงินทอง มีโชคลาภ ปลดหนี้สิน ขอพรองค์เทพให้คุณมีโชคดีไหลเข้ามาไม่ขาดสาย. มั่นใจได้ของเราทําพิธีอย่างถูกต้อง การันตีโดย อ. พิทักษ์ โค้ววันชัย นักเขียนหนังสือการบูชาองค์เทพ อาจารย์ได้ออกรายการทีวีมาแล้วมากมาย สอนสวดมนต์ สอนบูชาองค์เทพ จัดงานบูชาองค์เทพให้กับผู้คนตลอด 18 ปี ทําหน้าที่เผยแพร่องค์เทพมายาวนาน เป็นเจ้าของสยามคเณศ Siamganesh ดูภาพประวัติ อ. พิทักษ์ ประกอบด้านบน). สงวนลิขสิทธิ์ข้อความอธิบายนี้ ห้ามร้านค้าอื่นคัดลอกคําอธิบายนี้ไปใส่ในร้านของตัวเองเด็ดขาด บทความนี้เขียนโดย อ. พิทักษ์ โค้ววันชัย-สยามคเณศ. พระพิฆเนศ ปางตรีมุขคณปติ ปางแห่งการติดต่อสื่อสาร การค้าขาย การประสานงาน ปางแห่งเสน่ห์ การเจรจาการงานสําเร็จลุล่วง. พระพิฆเนศปางตรีมุข หรือ ปาง 3 เศียร เป็นพระพิฆเนศในกลุ่มปางเกี่ยวกับการติดต่อสื่อสาร และปางความสําเร็จในหน้าที่การงาน. ปางสามเศียร หมายถึง 3 โลก อันได้แก่ โลกมนุษย์ สวรรค์ และบาดาล. พระพิฆเนศปางสามเศียรนี้ เป็นการประทานพรให้ผู้บูชาได้รับความราบรื่นในการติดต่อสื่อสาร เนื่องจากพระพิฆเนศเป็นเทพเจ้าที่สามารถเสด็จไปยังทุกที่บนโลกมนุษย์ ทุกที่ใต้บาดาล และทุกที่บนสรวงสวรรค์ได้ ก็หมายถึงการได้รับความราบลื่นในการติดต่อประสานงานต่างๆ. ประทานพรให้ผู้บูชา ไปติดต่อพูดจากับใครก็มีเสน่ห์ มีแต่คนรักใคร่ มีคนนับหน้าถือตา ขอความร่วมมือกับใครก็ได้รับความสะดวก ผู้ใหญ่เอ็นดู เพื่อนรอบข้างมีน้ําใจ. ผู้ที่บูชาพระพิฆเนศองค์นี้ จะได้รับความรักใคร่จากผู้คนรอบข้าง มีมิตรภาพที่ดี คนที่นิสัยไม่ดีที่เข้ามาวุ่นวายก็จะถูกขจัดออกไป. ขนาดของแผ่นทอง กว้าง 2.3 นิ้ว x สูง 3.3 นิ้ว. หรือ ขนาดเทียบเท่าบัตรเอทีเอ็ม นามบัตร. ด้านหน้า เป็นแผ่นทอง. ด้านหลัง เป็นแผ่นพลาสติกกันน้ํา ผนึกติดกับแผ่นทองไว้เพื่อไม่ให้แผ่นทองยับเสียหาย. สามารถติดผนังไว้บูชา ในบ้าน ห้องพระ แท่นบูชา หิ้งพระ ร้านค้า หรือใส่ในรถยนต์ ไว้ที่โต๊ะทํางาน ใส่พานไว้ เอาเทปติดไว้ที่ผนัง ใส่กระเป๋าถือหรือจะใส่กระเป๋าสตางค์พกพาติดตัวบูชาก็ได้. ปลุกเสกแล้ว. วัตถุมงคลของเราทุกรายการ ได้ผ่านพิธีเบิกเนตรโดยพราหมณ์อินเดียในสมาคมฮินดูประจําประเทศไทย โดย อ. พิทักษ์ เป็นเจ้าภาพเชิญพราหมณ์อินเดียมาทําพิธีครบถ้วนทุกขั้นตอน. บูชาเพื่อเสริมดวง เสริมสิริมงคลให้กับตัวคุณ เพื่อให้คุณมีเงินทอง มีโชคลาภ ปลดหนี้สิน ขอพรองค์เทพให้คุณมีโชคดีไหลเข้ามาไม่ขาดสาย. มั่นใจได้ของเราทําพิธีอย่างถูกต้อง การันตีโดย อ. พิทักษ์ โค้ววันชัย นักเขียนหนังสือการบูชาองค์เทพ อาจารย์ได้ออกรายการทีวีมาแล้วมากมาย สอนสวดมนต์ สอนบูชาองค์เทพ จัดงานบูชาองค์เทพให้กับผู้คนตลอด 18 ปี ทําหน้าที่เผยแพร่องค์เทพมายาวนาน เป็นเจ้าของสยามคเณศ Siamganesh ดูภาพประวัติ อ. พิทักษ์ ประกอบด้านบน). สงวนลิขสิทธิ์ข้อความอธิบายนี้ ห้ามร้านค้าอื่นคัดลอกคําอธิบายนี้ไปใส่ในร้านของตัวเองเด็ดขาด บทความนี้เขียนโดย อ. พิทักษ์ โค้ววันชัย-สยามคเณศ